สปริงดึง คืออะไร

สปริงดึง 1

 

 

         สปริงดึง (Extension Springs) คือ สปริงที่มีลักษณะเป็นเกลียวหรือขด โดยปลายทั้ง 2 ด้านจะเป็นห่วงหรือตะขอเกี่ยวเพื่อยึดจับ สามารถยืดตัวออกเมื่อมีการดึง  สปริงดึง ทำหน้าที่ในการรับแรงต้านหรือแรงดึง ซึ่งขนาดและรูปทรงขึ้นอยู่กับการออกแบบตามลักษณะการใช้งานเป็นหลัก และตัวสปริงดึงสามารถทำสีได้ตามความต้องการของลูกค้าเพื่อให้เหมาะสมกับตัวชิ้นงานที่จะนำไปประกอบชิ้นส่วน

 

 

ประเภทของสปริงดึงจะมี 3 แบบ ดังนี้

 

 

         1. สปริงดึงหูกลมธรรมดา / สปริงดึงหูกลมบิดเข้ากลาง

         2. สปริงดึงหูหักฉาก

         3. สปริงดึงเปเปอร์ จะมีรูปร่างเป็นทรงกรวย จะกรวย 1 ข้างหรือ 2 ข้างก็ได้

 

 

รูปแบบลักษณะของสปริงดึง ดังนี้

 

 

         • สปริงขดแบบดึง รูปแบบตะขอ

         • สปริงขดแบบดึง รูปแบบห่วง

 

 

สปริงดึง 2

 

 

         ซึ่งทั้งสองลักษณะมุมตะขอ หรือ ห่วงสามารถทำมุมได้ 2 มุม คือ มุม 90° และ มุม 180° โดยสปริงดึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้ เช่น งานตกแต่ง งานประดิษฐ์ งานช่างฝีมือ งานโลหะ ซึ่งที่เห็นได้บ่อยๆ คือ สปริงดึงตรงขาตั้งจักรยาน สปริงดึงท่อไอเสียมอไซต์ สปริงดึงเชือกจูงหัวสปริงลดแรงฉุดกระชากสำหรับสุนัขพันธุ์ใหญ่ สปริงดึงคีมล็อค สปริงดึงหม้อเบรค โดยเราสามารถหาซื้อสปริงและนำไปเปลี่ยนเองได้ถ้าหากสปริงอันเก่านั้นเสีย ดังนั้นอุตสาหกรรมที่นิยมใช้สปริงดึง ได้แก่ อุตสาหกรรมชิ้นส่วนของเครื่องจักร อุตสาหกรรมของเล่น อุตสาหกรรมยานยนต์ ฯลฯ

 

 

 

 

 

สิ่งที่ท่านจะได้รับเมื่อเลือกซื้อสปริงกับ นำสิน สปริง

         1. สินค้าได้รับมาตรฐาน

         2. สินค้ามีความแข็งแรง คงทน  

         3. มีราคาที่ย่อมเยา

         4. สปริงได้รองรับมาตรฐานคุณภาพสำหรับยานยนต์ ISO/TS 16949 

         5. สปริงแข็งแรง เกรดลวดคุณภาพ

 

 

จำหน่ายสปริงทุกชนิด

 

 

         หากสนใจสั่งผลิตสปริงทุกชนิด บริษัท นำสิน สปริง จำกัด ยินดีให้บริการ จำหน่ายสปริง เป็นผู้ผลิตจัดจำหน่ายสปริงอุตสาหกรรมตามมาตรฐาน ISO ผลิตสปริงสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์ ดำเนินงานมาด้วยประสบการณ์อย่างยาวนานกว่า 30 ปี โดยทีมงานผู้ชำนาญงานในด้านสปริงและให้คำปรึกษาโดยเฉพาะส่งมอบงานตรงต่อเวลาชิ้นงานได้มาตรฐานเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพ ใส่ใจทุกขั้นตอนการผลิตด้วยฝีมือประณีตได้ตรงมาตรฐานตามความต้องการของลูกค้า สนใจทำสปริง คลิก

 

 

------------------------------------------------------------------------------------------

 

 

บทความที่เกี่ยวข้อง

สปริงมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

• สปริงดึง ตัวช่วยยืดและดึงเพื่อคืนตัวของชิ้นงาน สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์

• สปริงสามารถทำหน้าที่อะไรได้บ้าง ?

 

 

 

สปริงดึง คืออะไร

สปริงดึง 1

 

 

         สปริงดึง (Extension Springs) คือ สปริงที่มีลักษณะเป็นเกลียวหรือขด โดยปลายทั้ง 2 ด้านจะเป็นห่วงหรือตะขอเกี่ยวเพื่อยึดจับ สามารถยืดตัวออกเมื่อมีการดึง  สปริงดึง ทำหน้าที่ในการรับแรงต้านหรือแรงดึง ซึ่งขนาดและรูปทรงขึ้นอยู่กับการออกแบบตามลักษณะการใช้งานเป็นหลัก และตัวสปริงดึงสามารถทำสีได้ตามความต้องการของลูกค้าเพื่อให้เหมาะสมกับตัวชิ้นงานที่จะนำไปประกอบชิ้นส่วน

 

 

ประเภทของสปริงดึงจะมี 3 แบบ ดังนี้

 

 

         1. สปริงดึงหูกลมธรรมดา / สปริงดึงหูกลมบิดเข้ากลาง

         2. สปริงดึงหูหักฉาก

         3. สปริงดึงเปเปอร์ จะมีรูปร่างเป็นทรงกรวย จะกรวย 1 ข้างหรือ 2 ข้างก็ได้

 

 

รูปแบบลักษณะของสปริงดึง ดังนี้

 

 

         • สปริงขดแบบดึง รูปแบบตะขอ

         • สปริงขดแบบดึง รูปแบบห่วง

 

 

สปริงดึง 2

 

 

         ซึ่งทั้งสองลักษณะมุมตะขอ หรือ ห่วงสามารถทำมุมได้ 2 มุม คือ มุม 90° และ มุม 180° โดยสปริงดึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้ เช่น งานตกแต่ง งานประดิษฐ์ งานช่างฝีมือ งานโลหะ ซึ่งที่เห็นได้บ่อยๆ คือ สปริงดึงตรงขาตั้งจักรยาน สปริงดึงท่อไอเสียมอไซต์ สปริงดึงเชือกจูงหัวสปริงลดแรงฉุดกระชากสำหรับสุนัขพันธุ์ใหญ่ สปริงดึงคีมล็อค สปริงดึงหม้อเบรค โดยเราสามารถหาซื้อสปริงและนำไปเปลี่ยนเองได้ถ้าหากสปริงอันเก่านั้นเสีย ดังนั้นอุตสาหกรรมที่นิยมใช้สปริงดึง ได้แก่ อุตสาหกรรมชิ้นส่วนของเครื่องจักร อุตสาหกรรมของเล่น อุตสาหกรรมยานยนต์ ฯลฯ

 

 

 

 

 

สิ่งที่ท่านจะได้รับเมื่อเลือกซื้อสปริงกับ นำสิน สปริง

         1. สินค้าได้รับมาตรฐาน

         2. สินค้ามีความแข็งแรง สปริงดึง คงทน  

         3. มีราคาที่ย่อมเยา

         4. สปริงได้รองรับมาตรฐานคุณภาพสำหรับยานยนต์ ISO/TS 16949 

         5. สปริงแข็งแรง เกรดลวดคุณภาพ

 

 

จำหน่ายสปริงทุกชนิด

 

 

         หากสนใจสั่งผลิตสปริงทุกชนิด บริษัท นำสิน สปริง จำกัด ยินดีให้บริการ เป็นผู้ผลิตจัดจำหน่ายสปริงอุตสาหกรรมตามมาตรฐาน ISO ผลิตสปริงสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์ ดำเนินงานมาด้วยประสบการณ์อย่างยาวนานกว่า 30 ปี โดยทีมงานผู้ชำนาญงานในด้านสปริงและให้คำปรึกษาโดยเฉพาะส่งมอบงานตรงต่อเวลาชิ้นงานได้มาตรฐานเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพ ใส่ใจทุกขั้นตอนการผลิตด้วยฝีมือประณีตได้ตรงมาตรฐานตามความต้องการของลูกค้า สนใจทำสปริง คลิก

 

 

------------------------------------------------------------------------------------------

 

 

บทความที่เกี่ยวข้อง

สปริงมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

• สปริงดึง ตัวช่วยยืดและดึงเพื่อคืนตัวของชิ้นงาน สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์

• สปริงสามารถทำหน้าที่อะไรได้บ้าง ?

 

 

 

สปริงดึง คืออะไร

สปริงดึง 1

 

 

         สปริงดึง (Extension Springs) คือ สปริงที่มีลักษณะเป็นเกลียวหรือขด โดยปลายทั้ง 2 ด้านจะเป็นห่วงหรือตะขอเกี่ยวเพื่อยึดจับ สามารถยืดตัวออกเมื่อมีการดึง  สปริงดึง ทำหน้าที่ในการรับแรงต้านหรือแรงดึง ซึ่งขนาดและรูปทรงขึ้นอยู่กับการออกแบบตามลักษณะการใช้งานเป็นหลัก และตัวสปริงดึงสามารถทำสีได้ตามความต้องการของลูกค้าเพื่อให้เหมาะสมกับตัวชิ้นงานที่จะนำไปประกอบชิ้นส่วน

 

 

ประเภทของสปริงดึงจะมี 3 แบบ ดังนี้

 

 

         1. สปริงดึงหูกลมธรรมดา / สปริงดึงหูกลมบิดเข้ากลาง

         2. สปริงดึงหูหักฉาก

         3. สปริงดึงเปเปอร์ จะมีรูปร่างเป็นทรงกรวย จะกรวย 1 ข้างหรือ 2 ข้างก็ได้

 

 

รูปแบบลักษณะของสปริงดึง ดังนี้

 

 

         • สปริงขดแบบดึง รูปแบบตะขอ

         • สปริงขดแบบดึง รูปแบบห่วง

 

 

สปริงดึง 2

 

 

         ซึ่งทั้งสองลักษณะมุมตะขอ หรือ ห่วงสามารถทำมุมได้ 2 มุม คือ มุม 90° และ มุม 180° โดยสปริงดึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้ เช่น งานตกแต่ง งานประดิษฐ์ งานช่างฝีมือ งานโลหะ ซึ่งที่เห็นได้บ่อยๆ คือ สปริงดึงตรงขาตั้งจักรยาน สปริงดึงท่อไอเสียมอไซต์ สปริงดึงเชือกจูงหัวสปริงลดแรงฉุดกระชากสำหรับสุนัขพันธุ์ใหญ่ สปริงดึงคีมล็อค สปริงดึงหม้อเบรค โดยเราสามารถหาซื้อสปริงและนำไปเปลี่ยนเองได้ถ้าหากสปริงอันเก่านั้นเสีย ดังนั้นอุตสาหกรรมที่นิยมใช้สปริงดึง ได้แก่ อุตสาหกรรมชิ้นส่วนของเครื่องจักร อุตสาหกรรมของเล่น อุตสาหกรรมยานยนต์ ฯลฯ

 

 

 

 

 

สิ่งที่ท่านจะได้รับเมื่อเลือกซื้อสปริงกับ นำสิน สปริง

         1. สินค้าได้รับมาตรฐาน

  สปริงดึง        2. สินค้ามีความแข็งแรง คงทน  

         3. มีราคาที่ย่อมเยา

         4. สปริงได้รองรับมาตรฐานคุณภาพสำหรับยานยนต์ ISO/TS 16949 

         5. สปริงแข็งแรง เกรดลวดคุณภาพ

 

 

จำหน่ายสปริงทุกชนิด

 

 

         หากสนใจสั่งผลิตสปริงทุกชนิด บริษัท นำสิน สปริง จำกัด ยินดีให้บริการ เป็นผู้ผลิตจัดจำหน่ายสปริงอุตสาหกรรมตามมาตรฐาน ISO ผลิตสปริงสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์ ดำเนินงานมาด้วยประสบการณ์อย่างยาวนานกว่า 30 ปี โดยทีมงานผู้ชำนาญงานในด้านสปริงและให้คำปรึกษาโดยเฉพาะส่งมอบงานตรงต่อเวลาชิ้นงานได้มาตรฐานเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพ ใส่ใจทุกขั้นตอนการผลิตด้วยฝีมือประณีตได้ตรงมาตรฐานตามความต้องการของลูกค้า สนใจทำสปริง คลิก

 

 

------------------------------------------------------------------------------------------

 

 

บทความที่เกี่ยวข้อง

สปริงมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

• สปริงดึง ตัวช่วยยืดและดึงเพื่อคืนตัวของชิ้นงาน สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์

• สปริงสามารถทำหน้าที่อะไรได้บ้าง ?

 

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

 

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15